การพัฒนาบรรจุภัณฑ์พริกทอด รสต้มยำ ตามมาตรฐานการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ กรณีศึกษา สถานประกอบการพริกทอด จังหวัดสมุทรสาคร

Main Article Content

หทัยรัตน์ ธีระกาญจน์
นุกูล สาระวงศ์
อัจฉรา ผ่องพิทยา
สร้อยสุดา เลาะหมุด
ชุมพล อินทร์มณี
ณัฐชัย เปลี่ยนวิจารณ์
จาตุรงค์ สาระวงศ์
อัญญา อำไพ

บทคัดย่อ

การออกแบบบรรจุภัณฑ์มีความสำคัญต่อธุรกิจ หากมีการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้เป็น
มาตรฐาน มีความโดดเด่น จะสามารถดึงดูดความสนใจของผู้บริโภคที่ได้พบเห็น ส่งผลต่อ
ยอดขายที่ได้รับ โดยงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาบรรจุภัณฑ์พริกทอด รสต้มยำ ตามมาตรฐาน
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ กรณีศึกษา สถานประกอบการพริกทอด จังหวัดสมุทรสาคร มี
วัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบบรรจุภัณฑ์พริกทอดของทางสถานประกอบการ และ 2)
เพื่อออกแบบบรรจุภัณฑ์พริกทอด ตามมาตรฐานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผู้วิจัยได้ทำการลง
พื้นที่เก็บข้อมูล โดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต และใช้หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ใน
การออกแบบบรรจุภัณฑ์พริกทอด ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบเดิมของบรรจุภัณฑ์พริกทอด ของทางสถานประกอบการ เป็นการบรรจุในถุงพลาสติกใสซิปล็อคธรรมดา ขาดความโดนเด่น
ไม่เป็นมาตรฐานตามหลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ทางผู้วิจัยจึงทำการออกแบบบรรจุภัณฑ์
2 ชั้น คือ บรรจุภัณฑ์หลัก และบรรจุภัณฑ์รอง จำนวน 2 รูปแบบ และได้นำเสนอต่อสถาน
ประกอบการ โดยสถานประกอบการได้ทำการเลือกบรรจุภัณฑ์รูปแบบที่ 1 ซึ่งหลังจากสถาน
ประกอบการได้ใช้บรรจุภัณฑ์ที่พัฒนา พบว่า สามารถเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์พริกทอดได้
10,000 กรัม/เดือน

Article Details

How to Cite
ธีระกาญจน์ ห. ., สาระวงศ์ น., ผ่องพิทยา อ., เลาะหมุด ส., อินทร์มณี ช., เปลี่ยนวิจารณ์ ณ., สาระวงศ์ จ., & อำไพ อ. (2024). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์พริกทอด รสต้มยำ ตามมาตรฐานการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ กรณีศึกษา สถานประกอบการพริกทอด จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมบ้านสมเด็จ, 5(2), 9–22. สืบค้น จาก https://ph04.tci-thaijo.org/index.php/JEITB/article/view/6533
บท
บทความวิจัย

References

เจนยุทธ ศรีหิรัญ. (2560). การออกแบบบรรจุภัณฑ์กล้วยแผ่นทอดกรอบสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเพื่อการส่งออก สู่สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 8(2), 132-142.

จุฑามาศ เถียรเวช. (2566). ศึกษาและพัฒนาตราสัญลักษณ์ บ้านสวนนกกวัก เพื่อใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สำหรับผลิตภัณฑ์ กระท้อนทรงเครื่อง จังหวัดปราจีนบุรี. วารสารศิลปกรรมบูรพา, 26(1), 115-132.

ชญาน์นันท์ ศิริกิจเสถียร อนุ ธัชยะพงษ์ และประพัสสร บัวเผื่อน. (2563). การออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผลิตภัณฑ์น้ำพริกปลาร้าสับของวิสาหกิจชุมชนหมูสวรรค์หมูไทยศรีโยธิน จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2(2), 53-64.

ณธกร อุไรรัตน์. (2559). การศึกษาเพื่อการพัฒนาการออกแบบบรรจุภัณฑ์ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ จ.สระบุรี (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

ณัฐกิตติ์ โภคินเรืองกิตติ์. (2558). การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์แป้งทอดกล้วยสำเร็จรูป ตรามาลิน (ปริญญาศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ดวงจันทร์ นาชัยสินธุ์. (2558). ความรู้พื้นฐานการออกแบบบรรจุภัณฑ์ (พิมพ์ครั้งที่ 1). ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ตวงรัก รัตนพันธุ์ เมธิรา ไกรนที และวชิรวิทย์ บัวขาว. (2565). การออกแบบบรรจุภัณฑ์ขนมลาเพื่อเพิ่มมูลค่ากลุ่มวิสาหกิจชุมชน บ้านท่าซอม อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 5(3), 22-36.

ธนัง ชาญกิจชัญโญ. (2565). การออกแบบตราสัญลักษณ์และบรรจุภัณฑ์อย่างมีส่วนร่วม กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้านแสงตะวัน อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. วารสารศิลปกรรมบูรพา, 25(1), 35-51.

ธัญลักษณ์ ศุภพลธร. (2566). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพรจากอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ม้งเพื่อส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนบ้านห้วยหาน จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 11(1), 153-164.

ปราณี เท่ากลาง ณัฎวรัตน์ ขจัดภัย และภิญญาพัชร์ สวัสดิ์กุลนิธิ. (2564). การออกแบบบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แปรรูปอาหารจากพริกสำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปอาหารจากพริกบ้านมะกอก ตำบลสีมุม อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 12(2), 193-209.

เพ็ญศรี จันทร์อินทร์. (2564). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์น้ำพริกมะแขว่นของกลุ่มแม่บ้านท่าช้าง จังหวัดกำแพงเพชร. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 27(2), 82-90.

โรสนา รัฐการัณย์ และมูฮำหมัดอามีน หะยีหามะ. (2566). การออกแบบภาพลักษณ์ตราสินค้า บรรจุภัณฑ์ แนวทางการสื่อสารเครื่องแกง ฮาลาลันตอยยีบันในพื้นที่จังหวัดปัตตานี. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 15(1), 344-362.

รัชฎาพร ใจมั่น. (2565). การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผลไม้อบแห้งด้วยการออกแบบบรรจุภัณฑ์. วารสารวิจิตรศิลป์, 13(2), 169-195.

วรกฤต ช่างจัตุรัส ชณัฐ วิพัทนะพร และศิวดล กัญญาคำ. (2566). การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อใช้ในการขนส่งสำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูนา กรณีศึกษา: สารคามฟาร์มปูนา. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 7(2), 165-174.

วิชาญ ตอรบรัมย์ และคณะ. (2565). การออกแบบตราสัญลักษณ์ปลากะพงแปรรูป กลุ่มผู้เลี้ยงปลากะพง ตำบลเสม็ดใต้ จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 14(3), 205-217.

ศุภรดา เรืองกฤษ และทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้งานบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภค. วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 12(2), 383-393.

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร. (2566). Thailand Food Industry Profile 2022. สืบค้น 29 สิงหาคม 2567. จาก https://fic.nfi.or.th/infographic-detail.php?id=84

สุภาพร อภิรัตนานุสรณ์ และกฤตภาส จินาภาค. (2556). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์น้ำพริกพร้อมบริโภค. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., 36(4), 451-464.

อโนทัย เพ็ชรสุวรรณ ไพรัช วงศ์ยุทธไกร และสมพล ดำรงเสถียร. (2551). ออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับข้าวแต๋น ในโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 2(1).

อนันต์ สุนทราเมธากุล และคณะ. (2565). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ถั่วทอดสมุนไพรภายใต้ตราสินค้าถั่วแซ่บบ้านชีทวน อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี.JOURNAL OF SRIVANALAI VIJAI, 12(1).

อมรรัตน์ หมื่นจิตน้อย และกวิน สนธิเพิ่มพูน. (2567). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกวัสดุของบรรจุภัณฑ์อาหาร สำหรับกลุ่มวิสาหกิจชุมชน. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 14(1), 248-265.

อรัญ วานิชกร. (2566). การพัฒนาบรรจุภัณฑ์สำหรับตำรับยาจากสารสกัดหอมแดง. วารสารวิจิตรศิลป์, 14(1), 114-139.