การศึกษาพฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชันสั่งอาหารของผู้บริโภค

Main Article Content

ชัชนันท์ อินเอี่ยม
พรทิพย์ เหลียวตระกูล
รัตนา ลีรุ่งนาวารัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการตัดสินใช้บริการแอปพลิเคชันสั่งอาหาร และปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้แอปพลิเคชันสั่งอาหาร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ใช้บริการแอปพลิเคชันสั่งอาหาร จำนวน 20 คน ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้มาด้วยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง และเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า ความพึงพอใจของผู้บริโภคในการตัดสินใจเลือกใช้บริการแอปพลิเคชันสั่งอาหาร โดยภาพรวม อยู่ในระดับดี

Article Details

How to Cite
อินเอี่ยม ช. . ., เหลียวตระกูล พ. . ., & ลีรุ่งนาวารัตน์ ร. . . (2022). การศึกษาพฤติกรรมการใช้แอปพลิเคชันสั่งอาหารของผู้บริโภค . วารสารวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรมบ้านสมเด็จ, 3(1), 38–49. สืบค้น จาก https://ph04.tci-thaijo.org/index.php/JEITB/article/view/4016
บท
บทความวิจัย

References

AccountingAIS03. (ออนไลน์). (2562). การสร้างแบบจำลองข้อมูล. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://accountingais03.

wixsite.com/mysite/post/บทที่ 13-การสร้างแบบจำลองข้อมูล

Greedisgoods. (ออนไลน์). (2560). Taro Yamane's formula for calculating group sample size. สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2564, จาก https://

greedisgoods.com/

taro-yamane/

ชเนศ ลักษณ์พันธุ์ภักดี. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารแบบเดลิเวอรี่. การค้นคว้าอิสระปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปัณณทัต ผิวอินทร์, กฤษณะ หุ่มสม และพรทิพย์ เหลียวตระกูล (2564). การออกแบบและพัฒนาแอปพลิเคชันสนับสนุนการตัดสินใจเลือกเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ. วารสารวิศวกรรมศาสตร์รและเทคโนโลยีอุตสาหกรรมบ้านสมเด็จ, 2(1), 54-69.

พิรานันท์ แกล่งกล้า. (2562). การวิเคราะห์คุณลักษณะของบริการแอพพลิเคชั่นเพื่อการสั่งอาหารเดลิเวอรี่ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ระริวรรณ เวียงตา. (2560). การรับรู้คุณค่าผลิตภัณฑ์ความพึงพอใจในการส่งเสริมการขายและค่านิยมที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอพพลิเคชั่น Grab. การค้นคว้าอิสระปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วริษฐา เขียนเอี่ยม. (2562). บทบาทของเทคโนโลยีและกระบวนการต่อพฤติกรรมการสั่งอาหารทางออนไลน์. การค้นคว้าอิสระปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสยาม.

ศิริน เจริญนิพิจนันท์. (2546). ทัศนคติและพฤติกรรมผู้บริโภคต่อการสั่งซื้อพิซซ่าฮัทแบบบริการส่งถึงบ้านในเขตกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2541). [ออนไลน์]. ส่วนประสมการตลาด. [สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2564]. จาก academic.udru.ac.th/~samawancontent/02marketingMix.pdf.

ศุภานัน วัฒนวิจิตร. (2560). ความพึงพอใจในการใช้บริการแอปพลิเคชั่น Grab Food เพื่อการบริการรับส่งอาหาร (Food Delivery) ของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพฯ. คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สพธอ.เอ็ทด้า ETDA. (2563). [ออนไลน์]. คนGen-y สั่งอาหารออนไลน์มากที่สุดสั่งเพราะหวั่นโควิด-19. [สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2564]. จาก https/www-etda-or-th/th/newsevents/pr-ews/Online-Food-Delivery-Survey-2020.aspx.

อริญชัย วีรดุษฎีนนท์. (2563). [ออนไลน์]. ธุรกิจอาหารและการปรับเปลี่ยนสู่ฟู้ดเดลิเวอร์รีท่ามกลางวิกฤตโควิค-19. [สืบค้นเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม 2564]. จาก http://the

momentum.co /restuarant-to-food-delivery-covid-19/.

อิสราวลี เนียมศรี.(2559). การตัดสินใจใช้บริการแอพพลิเคชั่น Line Man ในกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.