การพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ กรณีศึกษา กลุ่มชุมชนผลิตภัณฑ์เปลือกไข่อัดเม็ด
Main Article Content
บทคัดย่อ
การพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ กรณีศึกษา กลุ่มชุมชนผลิตภัณฑ์เปลือกไข่อัดเม็ด มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์เปลือกไข่อัดเม็ด 2) เพื่อพัฒนาตราสินค้าผลิตภัณฑ์เปลือกไข่อัดเม็ด 3) เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์เปลือกไข่อัดเม็ด ผู้วิจัยได้ทำการลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากกลุ่มชุมชนผลิตภัณฑ์เปลือกไข่อัดเม็ด โดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสังเกต ใช้หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ในการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ ทางผู้วิจัยได้ทำการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตเปลือกไข่อัดเม็ดสู่ชมชุน และได้ทำการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับบรรจุเปลือกไข่อัดเม็ดเป็นรูปไข่ พร้อมทั้งออกแบบบตราสินค้าที่มีการผสมผสานระหว่างเปลือกไข่และต้นกระบองเพชร เพื่อสื่อความหมายของตัวผลิตภัณฑ์ ทำให้ภาพลักษณ์ของสินค้ามีความโดดเด่นน่าดึงดูดความสนใจจากลูกค้า
Article Details
References
กษมา สุรเดชา อนุ ธัชยะพงษ์ และกันยา มั่นคง. (2563). การออกแบบตราสินค้าและพัฒนาบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์กล้วยอบเนย ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนหมูสวรรค์หมูไทยศรีโยธิน. วารสารพิกุล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 18(1), 219-238.
จุฑามาศ เถียรเวช. (2565). การออกแบบตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างภาพลักษณ์ และส่งเสริมการตลาด กรณีศึกษาบ้านเบญจรงค์ จังหวัดปทุมธานี. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง, 4(3), 177-192.
เจนจิรา ดีรอด ศิรินธนาภรณ์ พรมสวัสด์ และชํามะเลียง เชาว์ธรรม. (2563). การผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากของเสียโรงงานไข่เค็มร่วมกับวัสดุเหลือใช้ในชุมชน เพื่อปลูกผักกวางตุ้ง (Brassica chinensis). วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(1), 198–205.
ฉัตรชัย อินทสังข์ จันทร์เพ็ญ ธงไชย ปุริม หนุนนัด และเยาวพา ความหมั่น. (2564). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ข้าว: กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มข้าวฮางงอกโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 8(2), 63-75
ชณิภรณ์ วดีศิริศักดิ์ สุพรรณี ฉายะบุตร และจิตนภา ศิริรักษ์. (2564). การใช้ผงเปลือกไข่เป็ดเป็นตัวดูดซับจากธรรมชาติในการกำจัด สีย้อมแอซิดและสีย้อมเบสิกในน้ำ. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 26(2), 837-851.
ทีปกร พรไชย และอภิพงษ์ พุฒคำ. (2561). การสังเคราะห์แคลเซียมไฮดรอกไซด์พื้นที่ผิวสูงจากเปลือกไข่ด้วยวิธีการแม่แบบ. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities and Social Sciences, 19(2), 271-279.
นัทธ์หทัย เถาตระกูล. (2562). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มธุรกิจชุมชน ในอำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 11(2), 100-117.
นิอร ดาวเจริญพร และรุ่งฤทัย รำพึงจิต. (2566). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อส่งเสริมผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเย็บผ้าและศิลปะประดิษฐ์ ตำบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(4), 174-191.
พรชิตา ขันทอง มณิสรา คำงาม และภิเษก รุ่งโรจน์ชัยพร. (2565). การศึกษาตัวเร่งปฏิกิริยาแคลเซียมซิลิเกตที่ได้จากเปลือกไข่เป็ดเพื่อใช้สังเคราะห์กลีเซอรอลคาร์บอเนตจากกลีเซอรอลและยูเรีย. วารสารวิทยาศาสตร์ลาดกระบัง, 31(1), 1-16.
พิมพ์นารา แสงขาว คณิตา ตังคณานุรักษ์ และนพวรรณ เสมวิมล. (2562). การตรึงโลหะหนักในกากตะกอนจากระบบบำบัดน้ำเสียชุมชนแบบ ตะกอนเร่งด้วยเปลือกไข่ไก่เพื่อการปลูกข้าว. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 19(4), 10-21.
พิไลพร หนูทองคํา ประภัสสร จุลบุตร์ และประสบพร จุลบุตร์. (2565). ผลของคลื่นไมโครเวฟต่อโครงสร้างทางเคมีกายภาพของเปลือกไข่ไก่. วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 41(2), 28-40.
ภัทรกร ออแก้ว. (2563). การออกแบบบรรจุภัณฑ์กระเป๋าจากเปลือกไข่นกกระจอกเทศ ร้านปาลิตาไข่วิจิตร. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี, 18(2), 99-109.
รวินิภา ศรีมูล และวิทยา คณาวงษ์. (2557). จลนศาสตร์และไอโซเทอมการดูดซับแอมโมเนียโดยใช้เปลือกไข่. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 17(2), 50-59.
รัชฎาพร ใจมั่น อัศพงษ์ อุประวรรณา และณัฐพงศ์ กันหา. (2563). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์โจ๊กกึ่งสำเร็จรูปจากข้าวหอมมะลิแดง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 40(2), 49-62.
วรรณา หอมจะบก ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ และนฤดม ทาดี. (2558). การเปรียบเทียบสารเร่งปฏิกริยาระหว่างเปลือกไข่ไก่กับ CaCO3 ในกระบวนการแพ็กคาร์เบอร์ไรซิง. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก, 8(1), 29-36.
วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล ภาสวิชญ์ ทรงจิตสมบูรณ์ และประกายเพชร ปานแก้ว. (2562). การเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความเป็นพิษของถ่านกัมมันต์และเปลือกไข่ในการกำจัดสีย้อม. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 18(2), 39-50.
วิชัย ดำรงโภคภัณฑ์. (2555). เทคโนโลยีการนำเปลือกไข่มาใช้ประโยชน์ Eggshell utilization technology. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 11(2), 75-83.
วิรังรอง แสงอรุณเลิศ. (2558). การดูดซับสีย้อมผ้าด้วยถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากเปลือกไข่และเปลือกหอยแครง โดยวิธีกระตุ้นทางเคมี. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 7(7), 97-110.
เสาวภา ไวยสุศรี. (2559). การกำจัดฟอสเฟตในน้ำเสียโดยการดูดซับด้วยแคลเซียมคาร์บอเนตและแคลเซียมออกไซด์จากเปลือกไข่ไก่. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 26(3), 475-486.
อรวรรณ ชัยวงษ์วิบูลย์. (2560). แนวทางการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์กระเป๋าเครื่องเขียน TINTINTOYS. สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต วิทยาลัยการจัดการ, มหาวิทยาลัยมหิดล.
อมรรัตน์ บุญสว่าง. (2559). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมสินค้าอาหารเอกลักษณ์ของจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 13(2), 33-60.
อมรรัตน์ อนันต์วราพงษ์ คฑา ม่วงเทศ และธรรมรัตน์ จรูญชนม์. (2559). การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องประดิษฐานจากเปลือกไข่ นกกระจอกเทศเทคนิคปิดทองประดับลาย. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์, 3(2), 167-188.
อำพร แจ่มผล อชิรญาณ์ รงค์ทอง ทวีศักดิ์ เตชะเกรียงไกร ทิพากร ม่วงถึก และศิริพร เรียบร้อย คิม (2565). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมจีบเสริมแคลเซียมจากผงเปลือกไข่ไก่. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 30(2), 57-69.
อุสุมา พันไพศาล และวารุณี จอมกิติชัย. (2564). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับผลสับปะรดห้วยมุ่น โดยใช้ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างสีเปลือกและรสชาติ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 16(2), 57-76.