ผลกระทบของค่าผ่านทางต่อการจราจรในบริเวณเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • เหมือนมาศ วิเชียรสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ ประเทศไทย
  • เกริกเกียรติ อังคณาวิศัลย์ สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ ประเทศไทย

คำสำคัญ:

การเก็บเงินเข้าพื้นที่ที่มีการจราจรติดขัด, การจำลองการจราจร, กรุงเทพมหานคร

บทคัดย่อ

บทความนี้เสนอโปรแกรมแบบจำลองจราจรที่สามารถคำนวณได้โดยมีเวลาในการเดินทาง ระยะทางในการเดินทาง และค่าผ่านทางเป็นปัจจัย โปรแกรมดังกล่าวนี้ได้ปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดจากโปรแกรมสร้างแบบจำลองของผู้เขียนให้สามารถศึกษาผลกระทบของค่าผ่านทางในราคาต่างๆ ต่อสภาพจราจรในพื้นที่ได้ งานวิจัยนี้ใช้พื้นที่บริเวณเขตชั้นในของกรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ศึกษา เนื่องจากพื้นที่ในบริเวณนี้เป็นพื้นที่ที่มีรายได้เฉลี่ยและการจ้างงานสูง และเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญของกรุงเทพมหานคร มีการเดินทางเข้าออกพื้นที่เป็นจำนวนมาก การวางแผนและบริหารจัดการจราจรจึงเป็นสิ่งจำเป็น ทั้งนี้ ศึกษาเปรียบเทียบแบบจำลองโดยใช้ปริมาณจราจรและความเร็วเฉลี่ย พบว่า การเก็บค่าผ่านทางส่งผลให้ความเร็วเฉลี่ยของรถในพื้นที่มากขึ้น ภายใต้สถานการณ์ที่ทำการศึกษา พบว่า ค่าผ่านทาง 10 บาท ทำให้ความเร็วเฉลี่ยของรถในพื้นที่ดีที่สุด คือ 45.96 กิโลเมตร/ชั่วโมง ซึ่งสูงกว่าความเร็วเฉลี่ยของรถในพื้นที่เมื่อไม่มีการเก็บค่าผ่านทางร้อยละ 19.82

References

Angkanawisalya, K. and Wichiensin, M., 2018, “A Software for Travel Forecasting,” KMUTT Research and Development Journal, 41 (3), pp. 311-322. (In Thai)

Department for Transport, UK, 2018, Highways Agency, Design Manual for Roads and Bridges (DMRB), Vol. 12.

Office of Transport and Traffic Policy and Planing, Ministry of Transport, 2015, Transport Data and Model integrated with Multimodal Transport and Logistics (TDL), pp. 67-68. (In Thai)

Wichiensin, M., Kanjanavaikoon, K. and Sangkhawut, K., 2017, “Traffic Congestion Alleviation for Ratchaprasong Road Closure,” KMUTT Research and Development Journal, 10 (2), pp. 315-331. (In Thai)

Wichiensin, M., Hongsa, P. and Simongkol, S., 2016, “Recommendation for Improvement of Traffic Circulation During “Kaset Fair,” Ladkrabang Engineering Journal, 33 (1), pp. 72-77. (In Thai)

Wichiensin, M., Kittivinichnan, N. and Pichayakorn, V., 2017, “Traffic Simulation Model for Bangkok Business Area,” Ladkrabang Engineering Journal, 34 (1), pp. 72-77. (In Thai)

Yamuang, C. and Kietkomol, W., 2017, “Improvement of Reversible Lane on Pechaburi Rd.,” Ladkrabang Engineering Journal, 34 (1), pp. 58-64. (In Thai)

Dowling, R., Skabardonis, A. and Alexiadis, V., 2004, Traffic Analysis Toolbox Volume III: Guidelines for Applying Traffic Microsimulation Software, Federal Highway Administration, pp. 1-132.

Frank, M. and Wolfe, P.H., 1956, “An Algorithm for Quadratic Programming,” Naval Research Logistics, 3 (1-2), pp. 95-110.

Department of Transportation. Federal Highway Administration, United States [Online], Available: http://www.fhwa.dot.gov/. [27 February 2018]

Transport for London, Driving, Congestion Charge [Online], Available: https://tfl.gov.uk/modes/driving/congestion-charge. [27 February 2018]

Traffic and Transportation Department, Bangkok Metropolitan Authority, 2013, Traffic Statistic 2013, p. 16. (In Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-03-31

How to Cite

วิเชียรสินธุ์ เ., & อังคณาวิศัลย์ เ. (2020). ผลกระทบของค่าผ่านทางต่อการจราจรในบริเวณเขตชั้นในของกรุงเทพมหานคร. Science and Engineering Connect, 43(1), 3–16. สืบค้น จาก https://ph04.tci-thaijo.org/index.php/SEC/article/view/10619